ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Geodatabase

Geodatabase คือ การจัดเก็บชุดข้อมูลทางภูมิศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ให้อยู่ในโฟลเดอร์


ขั้นตอนและวิธีการทำ Geodatabase


ขั้นตอนที่ 1 เปิดโปรแกรม


Geodatabase จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

  1. Personal Geodatabase
  2. File Geodatabase

ขั้นตอนที่ 2 Connect to Folder ที่เราต้องการ



ขั้นตอน 3 การสร้าง folder ใหม่

- ขั้นตอนที่ 3 ให้ตั้งชื่อ folder ที่เราต้องการ คลิกขวา folder ที่เราได้ connect มา > เลือก new > เลือก folder


ขั้นตอนที่ 4 การสร้าง Personal Geodatabase

ขั้นตอนที่ 4 ให้คตลิกขวา folder ที่เราสร้างไว้ ตัวอย่าง จะชื่อ folder จะเป็น chon_data 
> เลือก new > เลือก Personal Geodatabase

ขั้นตอนที่ 5 File Geodatabase

ขั้นตอนที่ 5 ให้คตลิกขวา folder ที่เราสร้างไว้ ตัวอย่าง จะชื่อ folder จะเป็น chon_data 
> เลือก new > เลือก File Geodatabase


                                        การนำเข้าข้อมูล มี 2 แบบ คือ
                                                   - Single (ครั้งละ 1 ไฟล์)
                                                   -  Multiple(ครั้งละ 2 ไฟล์ขึ้นไป)


ขั้นตอนที่ 6 การนาเข้าข้อมูล Personal Geodatabase  แบบ Single

ขั้นตอนที่ 6 ไปที่ New Personal Geodatabase.mdb > คลิกขวา Import 
> เลือก Feature Class Single



หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
ช่อง Input คลิกที่ Folder สีเหลือง เลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด 1 ไฟล์  > Add

ช่อง Output ตั้งชื่อใหม่ > OK

ขั้นตอนที่ 7 การนาเข้าข้อมูล File Geodatabase แบบ Multiple

ขั้นตอนที่ 7 ไปที่ New File Geodatabase.gdb > คลิกขวา Import 
> เลือก Feature Class Multiple



หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
ช่อง Input คลิกที่ Folder สีเหลือง เลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด > Add > OK
การนำเข้าข้อมูลประเภทนี้ ข้อมูลจะไม่ปรากฏในหน้าต่าง Display Area แต่จะไปปรากฏใน Catalog Windows สามารถเปิดได้โดย คลิกที่ File_GDB แล้วลากเข้ามาใน Display Area

ขั้นตอนที่ 8 การสร้าง Feature Dataset
เป็นการเก็บข้อมูล Feature class ที่มีความสัมพันธ์กันเชิงพื้นที่ หรือมีค่าพิกัดเดียวกัน วัตถุประสงค์หลักของการสร้าง Feature Dataset คือ จัดการกับข้อมูลที่มีค่าพิกัดเดียวกันให้อยู่ในชุดข้อมูลเพื่อนำไปสู่การสร้าง
- Topology 
- Network Dataset 
- Terrain Dataset 
- Geometric Network
* Feature Dataset จะเก็บได้ใน Geo Databaseเท่านั้น



ขั้นตอนที่ 7 ไปที่ New File Geodatabase.gdb > คลิกขวา new 
> เลือก Feature Dataset 

หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
ช่อง Name ตั้งชื่อ Mydataset



หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
เลือกพิกัดเป็น WGS 1984 UTM Zone 47N > Next > Next > Finish


การนำเข้าข้อมูล Feature Dataset
มี 2 แบบ
            - Single (ครั้งละ 1 ไฟล์)

            - Multiple(ครั้งละ 2 ไฟล์ขึ้นไป)

ขั้นตอนที่ 9 การนำ Dataset แบบ Single

ขั้นตอนที่ 9 ไปที่ New File Geodatabase.gdb > mydataset > คลิกขวา Import 
> เลือก Feature Class Multiple



หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
ช่อง Input Feature คลิกที่ Folder สีเหลือง > เลือกข้อมูลที่ต้องการ > Add
ช่อง Output Feature Class ตั้งชื่อ Mydata > OK

ขั้นตอนที่ 11 การสร้าง Feature Class
คือ การเก็บข้อมูลสัญรูป (Feature) ทั่วไปที่มีลักษณะเหมือนกันหรือมีคุณสมบัติเดียวกัน โดยแต่ละ featureจะแทนลักษณะเชิงพื้นที่แบบเดียวกัน ได้แก่ ข้อมูลจุด (Point) ข้อมูลเส้น (Line) และข้อมูลพื้นที่ (Polygon) รวมทั้งข้อมูลเชิงคุณลักษณะ หรือข้อความ (Annotation)


ขั้นตอนที่ 11  ไปที่ New File Geodatabase.gdb > คลิกขวา new 
> เลือก Feature class



หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นมา
 ตั้งชื่อ  > เลือกข้อมูล Type ว่าจะเป็น Point , Line , Polygon , Annotation > Next 
> เลือกพิกัด > Next > Finish

*สามารถสร้าง Feature Class ทั้ง Line , Polygon , Annotation ได้โดยวิธีเดียวกัน

ขั้นที่ 12 การสร้าง Shapefile
คือ เป็นรูปแบบอย่างง่ายของการเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลคุณลักษณะของสัญรูป (Feature) ซึ่งสัญรูปที่อยู่ในรูปแบบของ Shapefile แบ่งเป็น ประเภท ได้แก่ ข้อมูลจุด เส้น และพื้นที่


ขั้นตอนที่ 12 ไปที่ Folder chon_data > คลิกขวา New > Shape File > ตั้งชื่อ Line > Type เลือก Line > เลือกพิกัด > Add > OK

คลิปวีดิโอแนะนำการใช้ Arc map เรื่อง  Geodatabase




สมาชิกในกลุ่ม
นาย จิตกวี   สุวรรณศรี         รหัสนิสิต 60170072
นาย นพคุณ   ศิวาลักษณ์      รหัสนิสิต 60170085
                          นาย พงศกร   กนะกาศัย       รหัสนิสิต 60170097
นาย ภูมินทร์  ศรีสวัสดิ์          รหัสนิสิต 60170104
นาย วิธวินท์  ผลเจริญสมบูรณ์ รหัสนิสิต 60170111

ความคิดเห็น